วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

บทที่3

click to comment

บทที่2 เรื่องทำความรู้จักกับโปรแกรม Adobe PageMaker

1 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)
2.แถบเมนู (Title Bar)
3.แถบเครื่องมือ (Tool Bar)
4.กล่องเครื่องมือ (Tools Box)
5.พื้นหน้ากระดาษ (Artboard)
6.ไม้บรรทัดแนวตั้ง (Vertical Ruler)
7.เส้นแสดงกรอบกระดาษ (Guideline Margin)
8.พื้นที่กระดาษทด (Pasteboard)
9.แผงควบคุม (Control Palette)
10.แถบเลื่อนแนวตั้ง (Vertical Scroll bar)
11หน้าต้นแบบ (Master Page)
12.หน้ากระดาษ ( Page Icon)
13.แถบเลื่อนแนวนอน(Horizontal Scroll bar)

บทที่1 เรื่องทำความรู้จักกับสื่อสื่งพิมพ์

1.สื่อสิ่งพิมพ์หมายถึง

--สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่าง ๆ โดยใช้ตัวหนังสือที่เป็นตัวเขียน หรือตัวพิมพ์เป็นสื่อในการแสดงความหมาย สื่อสิ่งพิมพ์มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร บันทึก รายงาน ฯลฯ

2.จงบอกประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ที่แบ่งตามระบบการผลิต

--ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์
สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ
- หนังสือสารคดี ตำรา แบบเรียน
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่แสดงเนื้อหาวิชาการในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจความหมาย ด้วยความรู้ที่เป็นจริง จึงเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นความรู้อย่างถูกต้อง
- หนังสือบันเทิงคดี
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับควา เพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป๋า หรือ Pocket Book ได้
สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร
- หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยนำเสนอเรื่องราว ข่าวสารภาพและ
ความคิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วิธีการพับรวมกัน ซึ่งสื่อสิ่งพิมพ์ชนิดนี้ ได้พิมพ์ออกเผยแพร่ทั้งลักษณะ หนังสือพิมพ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน
- วารสาร, นิตยสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยนำเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง ที่มีรูปแบบการนำเสนอ ที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้กับผู้อ่าน ทั้งนี้การผลิตนั้น มีการ กำหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่แน่นอน ทั้งลักษณะวารสาร, นิตยสารรายปักษ์ (15 วัน) และ รายเดือน
- จุลสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นแบบไม่มุ่งหวังผลกำไร เป็นแบบให้เปล่าโดยให้ผู้อ่านได้ศึกษา
หาความรู้ มีกำหนดการออกเผยแพร่เป็นครั้ง ๆ หรือลำดับต่าง ๆ ในวาระพิเศษ
- สิ่งพิมพ์โฆษณา
- โบร์ชัวร์ (Brochure) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นสมุดเล่มเล็ก ๆ เย็บติดกันเป็นเล่ม
จำนวน 8 หน้าเป็น อย่างน้อย มีปกหน้าและปกหลัง ซึ่งในการแสดงเนื้อหาจะเกี่ยวกับโฆษณาสินค้า
- ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ใบเดียว ที่เน้นการประกาศหรือโฆษณา มักมีขนาด A4 เพื่อง่ายในการแจกจ่าย ลักษณะการแสดงเนื้อหาเป็นข้อความที่ผู้อ่าน อ่านแล้วเข้าใจง่าย
- แผ่นพับ (Folder) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยเน้นการนำเสนอเนื้อหา ซึ่งเนื้อหาที่นำเสนอนั้น
เป็นเนื้อหา ที่สรุปใจความสำคัญ ลักษณะมีการพับเป็นรูปเล่มต่าง ๆ
- ใบปิด (Poster) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์โฆษณา โดยใช้ปิดตามสถานที่ต่าง ๆ มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ ซึ่งเน้นการนำเสนออย่างโดดเด่น ดึงดูดความสนใจ
สิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ในการห่อหุ้มผลิตภัณฑ์การค้าต่าง ๆ แยกเป็นสิ่งพิมพ์หลัก ได้แก่ สิ่งพิมพ์ที่ใช้ปิดรอบขวด หรือ กระป๋องผลิตภัณฑ์การค้า สิ่งพิมพ์รอง ได้แก่ สิ่งพิมพ์ที่เป็นกล่องบรรจุ หรือลัง
สิ่งพิมพ์มีค่า
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นการนำไปใช้เป็นหลักฐานสำคัญต่าง ๆ ซึ่งเป็นกำหนดตามกฎหมาย เช่น ธนาณัติ, บัตรเครดิต, เช็คธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน, หนังสือเดินทาง, โฉนด เป็นต้น


3.จงบอกประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ที่แบ่งตามลักษณะ


--สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีการผลิตขึ้นตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใช้งาน ได้แก่ นามบัตร, บัตรอวยพร, ปฎิทิน,บัตรเชิญ,ใบส่งของ,ใบเสร็จรับเงิน,สิ่งพิมพ์บนแก้ว ,สิ่งพิมพ์บนผ้า เป็นต้น
สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น


4.คอมพิวเตอร์มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

--ใช้ออกแบบ ตกแต่ง และพิมพ์


5.จงอธิบายขั้นตอนหรือกระบวนการในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

--การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถจัดลำดับได้เป็นขั้นตอนหรือ "กระบวนการ" ให้เห็นภาพตั้งแต่เริ่มต้นทำงานจนสำเร็จให้ชัดเจนยิ่งขึ้นได้
กระบวนการหมายถึง "กรรมวิธี" หรือ ลำดับการกระทำซึ่งดำเนินต่อเนื่องกันไปจนถึงสำเร็จลง ระดับหนึ่งมาจากภาษาอังกฤษคำว่า "Process"
กระบวนการในขั้นตอนของการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่ๆด้วยกัน (จันทนา ทองประยรู, 2537 : 21) ได้เแก่ งานก่อนพิมพ์ (Prepress Work) งานพิมพ์ (Press Work) และงานทำสำเร็จ (Finishing After Press Work)


6.อุปกรณ์หลักๆที่ใช้ในการจัดเตรียมArt Work ประกอบด้วยอะไรบ้าง

--โปรแกรม Pagemaker

กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์

1. เริ่มต้นรู้จักกับการสร้างสิ่งพิมพ์
1.1. กระบวนการผลิตงานสิ่งพิมพ์จะประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ มากมาย เชํน การเตรียมไฟล์งาน การจัดการกับภาพ กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์ เพื่อให๎ได๎เป็นผลงานในรูปแบบที่ต้องการ

1.2. การเตรียมงานพิมพ์ เริ่มแรกระบบการพิมพ์จะใช้ชำงศิลป์ ชำงเลย์ฟิล์ม และชำงทำแมํพิมพ์ ตํอมาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได๎เข๎ามามีบทบาททำให๎สามารถสร้างสรรค์งานสิ่งพิมพ์ได้สะดวกงำย แตํปัญหาที่ตามมาคือ ไฟล์ต้นฉบับที่สํงมาไมํสอดคล้องกับมาตรฐานการทำงานของทางโรงพิมพ์ ดังนั้น ผู๎สร้างสิ่งพิมพ์เรียบร้อย ต้องการสํงงานเพื่อจัดพิมพ์ให้เป็นผลงาน ต้องพิจารณา

1.2.1. สํงไฟล์ข้อมูล ไฟล์ภาพ หรือฟอนต์ ให้กับทางโรงพิมพ์

1.2.2. ความละเอียดของไฟล์ไฟล์ที่สํงไป

1.2.3. โปรแกรมที่เหมาะสมกับการทำงาน เชํน พิมพ์ข้อความผำนโปรแกรม Word สร้างภาพจากโปรแกรม Illustrator ตกแต่งภาพด้วย Photoshop จัดและนำข้อมูลมาประกอบลงบนหน้าสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม PageMaker เป็นต้น

2. เรื่องภาพกับการพิมพ์

2.1.1. การนำภาพมาประกอบลงบนสิ่งพิมพ์ เชํน สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอล แผํนซีดี อินเทอร์เน็ต ใช้โปรแกรมจับภาพ หรือแม้แตํการสร้างภาพที่ต้องการขึ้นมาเอง

2.1.2. ความแตกตำงของภาพเวกเตอร์ และ บิตแม็พ ภาพทุกภาพจะแบํงออกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ ภาพเวกเตอร์ เกิดจากการคำนวณคำทางคณิตศาสตร์ สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม Illustrator ,Corel Draw Freehand ภาพที่ได๎ลักษณะเป็นการ์ตูน เรียกวำ Clip Art ข้อดีของภาพเวกเตอร์ ไฟล์มีขนาดเล็ก มีความคมชัด และ ภาพบิตแม็พ เกิดจากพิกเซล (Pixel) เป็นชํองสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียงตํอกัน เมื่อขยายขนาดจะสํงผลทำให้คุณภาพของงานลดลง เหมาะกับงานที่ต๎องการความละเอียดสีมาก ๆ เชํน รูปถำย

2.1.3. ความละเอียดที่เหมาะสมของภาพ ภาพสแกนหรือใช้โปรแกรมจับภาพ ความละเอียด 300 dpi (dot per Inch) สํวนภาพจากกล๎องดิจิตอล ความละเอียดระดับปานกลาง 2-5 ล้านพิกเซล สํวนความละเอียดสูง 6 ล้านพิกเซลขึ้นไป

2.1.4. โหมดสี RGB และ CMYK โดยปกติภาพที่นำเข้ามาใช้งานอยูํโหมด RGB ( Red-Green-Blue) เป็นโหมดแสดงบนหน้าจอ
ทั่วไป ถ้ำสํงไฟล์งานให้โรงพิมพ์ ต้องกำหนดเป็นโหมด CMYK(Cyan-Magenta-Yellow-Black) แทนเนื่องจาก ภาพโหมด RGB มีความสวำงมากกวำ CMYK สามารถปรับโหมดสีด้วยโปรแกรมตกแตํงภาพ เชํน Photoshop เมนู Image-->Mode-->CMYK Color

2.1.5. การบันทึกไฟล์ภาพ ที่เหมาะสมกับการสร้างสรรค์สิ่งพิมพ์ ได้แกํ TIFF และ EPS ดังนี้ TIFF (Tag Image File Format) เป็นรูปแบบ/ฟอร์แมตที่นิยมในการสร้างสิ่งพิมพ์ เนื่องจากรองรับการแสดงผลบนหน้าจอ ภาพที่ได้จะมีลักษณะเป็นบิตแม็พ EPS (Encapsulated PostScript) เหมาะกับการสํงโรงพิมพ์ เป็นการคำนวณคำสี ตามแบบของโรงพิมพ์ 4 สี หรือที่เรียกวำ CMYK รองรับทั้งเวกเตอร์ และบิตแม็พ แตํถ้ำแสดงผลบนหน้าจอจะมีความละเอียดที่ต่ำแคํ 256 สีเทำนั้น

3. ขนาดของกระดาษมาตรฐานสำหรับงานพิมพ์ ควรคำนึงถึงขนาดกระดาษมาตรฐานที่มีให๎เลือกใช้งาน
แบํงออกเป็น 3 ชุด คือ A B แล C สำหรับ A,B เป็นกระดาษแผํนใหญํ เหมาะกับการจัดทำหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ทั่วไป สํวน C เป็นขนาดของซองกระดาษ

4. คำแนะนำในการจัดทำหนังสือ การผลิตหนังสือ นิตยสาร จุลสาร วารสาร แมกกาซีน หรือพ็อกเก็ตบุคส์ เพื่อวางจำหนำยตามท้องตลาดทั่วไป สิ่งที่ควรพิจารณากํอนที่จะจัดทำคือ

4.1. ต้องรู๎วำจะจัดทำหนังสือประเภทใดเชํน คอมพิวเตอร์ ทํองเที่ยว อาหาร บันเทิง เป็นต้น

4.2. กำหนดกลุ่มํเป้าหมายให้ชัดเจน เป็นเด็ก วัยรุ่ํน หรือผู้๎อำนมีความเชี่ยวชาญระดับใด

4.3. ดูแหลํงที่มาของรายได้ เน้นมาจากโฆษณา ไมํควรพิมพ์เยอะ แตํถ้ามาจากยอดจำหนำยต้องเน้นสํวนของเนื้อหาแทน

4.4. การออกแบบรูปเลํมของหนังสือ เพื่อให้ดูโดดเดํนสามารถแขํงกับหนังสือเลํมอื่นที่มีอยูํในท้องตลาด

4.5. พิมพ์จากกระดาษที่มีคุณภาพ เชํน ขาวสะอาด ขาวหมํน หนา

4.6. รูปแบบการพิมพ์ ขาว-ดำ ต้นทุนในการพิมพ์ลดลง พิมพ์ 4 สี ชํวยความนำสนใจ การพิมพ์ก็จะสูงขึ้น

4.7. การกำหนดราคาขาย สำหรับหนังสือทั่วไป พิจารณาเปรียบเทียบจากคูํแขํง หากเป็นหนังสือเฉพาะด้าน ไมํมีการลงโฆษณา หรือไมํมีทั่วไปในท้องตลาด สามารถกำหนดราคาขายให้สูงกวำได้

4.8. การจัดจำหนำย ทำโดยผำนบริษัทตำง ๆ ที่รับผิดชอบด้านนี้โดยตรง ซึ่งจะชํวยประหยัดเวลา บุคลากรและคำใช๎จำยอื่น ๆ

5. ประเภทและตัวอย่างการสร้างสรรค์สิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ สิ่งพิมพ์แบํงเป็น 2 ประเภท คือสิ่งพิมพ์ 2 มิติ คือมีลักษณะเป็นแผํนราบ ใช้วัสดุจำพวกกระดาษ ตัวอยำงเชํน หนังสือ นิตยสาร วารสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ แผํนพับ โบรชัวร์ โปสเตอร์ ใบปลิว นามบัตร เป็นต๎น และสิ่งพิมพ์ 3 มิติ มีลักษณะพิเศษต้องอาศัยระบบการพิมพ์แบบพิเศษ เป็นการพิมพ์ลงบนผลิตภัณฑ์เป็นรูปทรง เชํน การพิมพ์สกรีนบนภาชนะตำง ๆ กระป๋อง แก้ว พลาสติก การพิมพ์ระบบแพดบนภาชนะที่มีผิวตำงระดับ เชํน เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องปั้นดินเผา งานเซรามิก การพิมพ์ระบบพํนหมึก เชํน การพิมพ์วันหมดอายุของอาหารกระป๋องตำง ๆ

6. กระบวนการในการผลิตสิ่งพิมพ์

6.1. หลังจากสร้างผลงานพร้อมทั้งจัดเตรียมไฟล์ตำง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน จะต้องจัดหาโรงพิมพ์เพื่อพิมพ์ผลงาน โดยมีกระบวนการดังนี้

ติดตํองาน
กำหนดลักษณะงาน
- ขนาด - จ านวนพิมพ์ - ลักษณะกระดาษ - ระบบการพิมพ์
ประเมินราคา
ทำข้อตกลง
กระบวนการจัดพิมพ์
งานกํอนกระบวนการพิมพ์สิ่งพิมพ์ งานในกระบวนการพิมพ์สิ่งพิมพ์
งานวางแผน งานบรรณาธิการ งานกํอนพิมพ์ งานพิมพ์ งานหลังพิมพ์
-ระบุลักษณะงาน -ออกแบบจัดหน๎า -ตกแตํงภาพ -ออฟเซต - ตัด - กะต้นฉบับให๎กับเนื้อที่-ตรวจแก้ไข -จัดประกอบแบบ -เลดเดอร์เพรลส์- พับ - ระบุเวลาแล้วเสร็จ -เตรียมต้นฉบับ -แยกสี -เฟล็กโซกราฟี - ปั้ม -กำหนดรายละเอียด -ปรุฟ -กราวัวร์ - ปะ -ฟิล์ม -อินทาลโย - เข้าเลํม -เพลต -ฉลุลายผ้า - ประกบ


6.2. อ้างอิงเว็บไซต์ทางด้านกราฟิกสิ่งพิมพ์ที่ควรรู๎จัก

6.2.1. http://www.adobe.com เว็บไซต์ผู๎ผลิตซอฟต์แวร์ PageMaker , Acrobat, Photoshop ,Illustrator InDesign ฯลฯ เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัท Adobe

6.2.2. http://www.macdd.com รวบรวมข๎อมูลขำวสารและบทความตำง ๆ เพื่อการใช๎งานทางด๎านกราฟิกสิ่งพิมพ์ทั้ง Mac และ PC

6.2.3. http://www.thaiprint.com แสดงลิงก์และรายละเอียดที่เกี่ยวข๎องเพื่อให๎การสร้างสรรค์สิ่งพิมพ์เป็นไปอยำงมืออาชีพ

6.2.4. http://www.pdfthai.com เว็บที่ให๎รายละเอียดเกี่ยวกับการใช๎งาน และปัญหาที่พบเกี่ยวกับการแปลงไฟล์ PDF รวมถึงเทคนิคในการทำงานกับโปรแกรม Acrobat

6.2.5. http://www.stou.ac.th/thai/train/train_pt เว็บของผู้สนใจต้องการเข้ารับการฝึกอบรมและทำงานเกี่ยวกับการพิมพ์โดยเฉพาะ

6.2.6. http://www.indesignthai.com เว็บสำหรับผู๎ที่ต้องการหาความรู้๎เพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม InDesign